ชื่อสายพันธุ์ทุเรียนนนท์
การตั้งชื่อพันธุ์ทุเรียน
1. ตั้งชื่อตามลักษณะผลภายนอกของผล
คือ พิจารณาลักษณะทรงผล หากรูปร่างคล้ายกับตัวกบก็ให้ใช้ชื่อ พันธุ์กบ หรือหากมีก้านผลที่มีความยาวเป็นพิเศษกว่าพันธุ์อื่นก็ให้ชื่อว่า พันธุ์ก้านยาว เป็นต้น เช่น ทุเรียนพันธุ์ตะเข้, อีบาตร, หอยโข่ง, ฟักทอง และ กระดุมทอง ฯลฯ
2. ตั้งชื่อตามลักษณะผลภายใน
คือ พิจารณาลักษณะภายได้แก่ สีเนื้อ ปริมาณเนื้อ และเมล็ด เช่น ทุเรียนที่มีเนื้อสีเหลืองคล้ายดอกการระเกด ก็ตั้งชื่อว่า พันธุ์การะเกด และทุเรียนพันธุ์อื่นๆที่จัดอยู่ในประเภทนี้ คือ พันธุ์กระเทย (เนื้อมาก เมล็ดลีบ), พันธุ์จำปา (เนื้อสีเหลืองจำปา) และ สารภี (เนื้อสีเหลืองเหมือนดอกสารภี)
3. ตั้งชื่อพันธุ์ตามต้นแม่พันธุ์เดิมผสมกับชื่อผู้เพาะ
หากทุเรียนที่เกิดใหม่ได้จากการเพาะทุเรียนกำปั่นและนายแพเป็น ผู้เพาะ ก็ใช้ชื่อว่า กำปั่นตาแพ ส่วนพันธุ์กบเจ้าคุณ ก็เป็นพันธุ์กบที่พระยาดำเกิงรณภพเป็นผู้เพาะ , กบพลเทพ (เจ้าคุณพลเทพเป็นผู้เพาะ) เป็นต้น
4. ตั้งชื่อพันธุ์ตามต้นแม่พันธุ์เดิมผสมกับลักษณะทั่วไปของทุเรียนที่เกิดใหม่
เช่น ทุเรียนที่เพาะกับทุเรียนพันธุ์ฉัตร นำเมล็ดมาเพาะแล้วมีเนื้อเหมือนสีนาค จึงให้ชื่อว่า "ฉัตรสีนาค" ทุเรียนที่จัดอยู่ในประเภทนี้ เช่น พันธุ์กบใบไม้, กบกิ่งแข็ง, กะเทยเหลือง และ ก้านยาวลูกใหญ่ เป็นต้น
5. ตั้งชื่อตามสถานที่ที่ต้นแรกงอกขึ้น
คือ ต้นแรกที่เพาะนั้นขึ้นอยู่ใกล้ต้นอะไรก็ให้ชื่อตามต้นไม้ที่ขึ้นอยู่ใกล้ๆนั้น เช่น พันธุ์ชายมะไฟ เพราะต้นแรกขึ้นอยู่ใกล้กับต้นมะไฟ, ชายมังคุด เพราะต้นแรกขึ้นอยู่ใกล้กับต้นมังคุด, ชายมะเฟือง, จำปี และ ลำเจียก เป็นต้น
6.ตั้งชื่อพันธุ์ตามต้นทุเรียนเดิมผสมกับสถานที่ที่ต้นแรกปลูก
เช่น กระปุกตลิ่งชัน มากจากพันธุ์กระปุกทอง แต่เพาะที่ตลิ่งชัน ทุเรียนที่จัดอยู่ในประเภทนี้ ได้แก่ พันธุ์กบหลังวิหาร และ พันธุ์กบหน้าศาล เป็นต้น
7. ตั้งชื่อพันธุ์แบบเบ็ดเตล็ด
การตั้งชื่อแบบนี้ไม่อาศัยหลักเกณฑ์อะไรเลย เช่น สายหยุด, กลีบสุนทร, จอมโยธา และ สาวชม เป็นต้น
ชื่อสายพันธุ์ทุเรียนนนท์
กบก้นป้าน
|
Kop Kon-pan |
กบก้านเหลือง | Kop Kan-lueang |
กบกิ่งแข็ง | Kop King-kang |
กบแก้ว | Kop Kaew |
กบขุนแผน | Kop Kung-pan |
กบแข้งสิงห์ | Kop Khaeng-sing |
กบง่อย | Kop Nouy |
กบงู | Kop Ngu |
กบจำปา/กบชมพู | Kop Cham-pa/Kop Chom-phu |
กบเจ้าคุณ | Kop Chao-khun |
กบชายน้ำ | Kop Chai-nam |
กบซ่อนกลิ่น | Kop Saun-glin |
กบตาขำ | Kop Ta-kham |
กบตาแจ่ม | Kop Ta-chaem |
กบตาเฒ่า | Kop Ta-thao |
กบตาท้วม/กบดำ | Kop Ta-thuam/Kop dam |
กบตานวล | Kop Ta-nual |
กบตานุช | Kop Ta-nuch |
กบตาปุ่น | Kop Ta-poon |
กบตาเป็น | Kop Ta-pen |
กบตามาก | Kop Ta-mak |
กบตามิตร | Kop Ta-mit |
กบตาแม้น | Kop Ta-maem |
กบตาลุ่ง | Kop Lung |
กบตาโห้ | Kop Ta-ho |
กบทองก้อน/ทองก้อน | Kop Thong-kon/Thong-kon |
กบทองคำ/ทองคำ | KopThong-kam/Thong-kam |
กบทองดี | Kop Thong-dee |
กบทองเพ็ง/ทองเพ็ง | Kop Thong-pheng |
กบบุนนาค | Kop Bung-nak |
กบเบา | Kop Bao |
กบพระไว | Kop Pra-wai |
กบพลเทพ | Kop Phon-thep |
กบพลอย | Kop Ploy |
กบพวง | Kop Phuang |
กบพิกุล | Kop Phi-kun |
กบมังกร | Kop Mang-kon |
กบเม็ดใน | Kop Med-nai |
กบแม่เชื่อม | Kop Mae-cheum |
กบแม่เฒ่า | Kop Mae-thao |
กบรัศมี | Kop Rat-sa-mi |
กบราชเนตร | Kop Rat-cha-net |
กบลำเจียก/ลำเจียก | Kop Lam-chiak/Lam-chiak |
กบเล็บเหยี่ยว | Kop Lep-yiao |
กบวัดกล้วย | Kop Wat-klual |
กบวัดเพลง | Kop Wat-phleng |
กบไว | Kop Wai |
กบสาวน้อย/กบก้านสั้น | Kop Sao-noi/Kop Kan-san |
กบสีนาก/กระดุมสีนาก | Kop Si-nak/Kra-dum Si-nak |
กบสุวรรณ | Kop Su-wan |
กบหน้าศาล | Kop Na-san |
กบหลังวิหาร | Kop Lang-wi-han |
กบหัวล้าน | Kop Hua-lan |
กระดุมเขียว | Kra-dum Khiao |
กระดุมทอง/กระดุม | Kra-dum Thong/Kra-dum |
กระปุกตลิ่งชัน | Kra-puk Talingchan |
กระปุกทองดี | Kra-puk Thongdee |
กระปุกนาก | Kra-puk Nak |
กระโปรงทอง | Kra-prong-thong |
กลีบสมุทร | Klip Sa-mut |
ก้อนทอง/ทองก้อน | Kon-thong/Thong-kon |
กะเทยขั้วสั้น | Ka-thoei Khua-san |
กะเทยเนื้อขาว | Ka-thoei Nuea-khao |
กะเทยเนื้อแดง | Ka-thoei Nuea-daeng |
กะเทยเนื้อเหลือง | Ka-thoei Nuea-lueang |
ก้านยาว/ทรงหวด/ทรงบาตร | Kan-yao |
ก้านยาวใบด่าง | Kan-yao Bai-dang |
ก้านยาวพวง | Kan-yao Phuang |
ก้านยาววัดสัก/เหลืองประเสริฐ | Kan-yao Wat-sak/lueang-pra-soet |
ก้านยาวสีนาค | Kan-yao Si-nak |
ก้านสั้น/สาวน้อยเรือนงาม | Kan-san/Sao-noi Ruean-ngam |
การะเกด | Ka-ra-ket |
การะเกดแดง | Ka-ra-ket Daeng |
การะเกดตาเหมือน | Ka-ra-ket Ta-mean |
การะเกดพุ่ม | Ka-ra-ket Pum |
การะเกดแม่เฒ่า | Ka-ra-ket Mae-tao |
การะเกดสีนาก | Ka-ra-ket Si-nak |
กำปั่นเดิม/กำปั้นขาว | Kam-pan Doem/Kam-pan Khao |
กำปั่นแดง | Kam-pan Daeng |
กำปั่นตาเแพ | Kam-pan Ta-pae |
กำปั่นเนื้อเหลือง/เจ้ากรม | Kam-pan Nuea-lueang/Jao-krom |
กำปั่นบางสีทอง | Kam-pan Bang-Si-Thong |
กำปั่นพวง | Kam-pan Phuang |
กำปั่นสีนาก | Kam-pan Si-nak |
เก๋งแดง | Kang Dang |
เก๋งทอง | Kang Thong |
ขุนทอง | Khun Thong |
เขียวตำลึง | Khiao Tam-lue |
เขียวสะอาด | Khiao Sa-had |
งาช้าง | Nha Chang |
เงาะ | Noge |
จอกลอย | Chok-loi |
จอมโยธา | Jom-yo-ta |
จำปา | Cham-pa |
จำปาใบลาย | Cham-Pa Bai-lai |
จำปี | Jumpe |
ฉัตร | Chat |
ฉัตรขุนคลัง | Chat Kun Krang |
ฉัตรสีทอง | Chat Si Thong |
ฉัตรสีนาค | Chat Si Nak |
ชมพูพาน | Chom-phu Phan |
ชมพูศรี | Chom-phu Sri |
ชะนี | Chani |
ชะนีก้านยาว | Cha-ni Kan-yao |
ชะนีกิ่งม้วน | Cha-ni King-muan |
ชะนีน้ำตาลทราย | Cha-ni Nam-tan-sai |
ชายมะไฟ | Chai Ma-fai |
ชายมังคุด | Chai Mang-Khut |
ดาวกระจาย | Dao-kra-jai |
แดงช่างเขียน | Daeng Chang-khian |
แดงตาน้อย | Daeng Ta-noi |
แดงตาเผื่อน | Daeng Ta-phuean |
แดงเถาว์ | Daeng Tao |
แดงแม่เฒ่า | Daeng Ma-thao |
แดงยายมี | Daeng Yai-me |
แดงรัศมี | Daeng Rat-sa-mi |
แดงโศก | Daeng Sok |
แดงสาวน้อย | Daeng Sao-noi |
ต้นใหญ่ | Tonyai |
ตลับทอง | Ta-Lahb Thong |
ตลับนาค | Ta-Lahb Nak |
ตอสามเส้า | To-sam-sao |
ตะกราย | Ta Kai |
ตะโก (ทองแดง) | Ta Ko (Thongdaeng) |
ตะพาบน้ำ | Ta-phap nam |
ตุ้มทอง | Thum Thong |
ทศกัณฑ์/อีหนัก | Tud-sa Kan |
ทศพิณ | Thot-sa Pin |
ทองเกลียว | Thong Kreay |
ทองคำตาพรวน/ทองคำพรวด | Thong-kam Ta- pruan/Thong-kam Pruan |
ทองแดง | Thong Daeng |
ทองนพคุณ | Thong Nop-pa-khun |
ทองปะศรี | Thong Pha-sri |
ทองม้วน | Thong Muan |
ทองย่น | Thong Yun |
ทองย้อยฉัตร | Thong-yoi Chat |
ทองย้อยเดิม | Thong-yoi Doem |
ทองสุก | Thong Suk |
ทองหยอด | Thong Yot |
ทองหยิบ | Thong Yip |
ทับทิม | Tap-tim |
ธรณีไหว | Tho-ra-ni-wai |
นกหยิบ | Nok Yip |
นมสด | Nom Sot |
นมสวรรค์ | Nom Sa-wan |
เนื้อหนา | Nuea-na |
บางขุนนนท์ | Bang Khun-non |
บาตรเขียว | Bat Keave |
บาตรทองคำ/อีบาตร | Bat Thong-kam/E-bat |
โบราณ | Bo Ran |
ปลากาโห้ | Pla-ka-ho |
ปิ่นทอง | Pin Thong |
เป็ดถบ | Petthop |
ผรั่งตกตึก | Fa-lang Tok-tek |
ฝอยทอง | Foi Thong |
พระสมุทร | Pra-sa-mut |
พวงเงิน | Phuang Heang |
พวงฉัตร | Phuang Chat |
ฟักข้าว | Fuk Khao |
ฟักทอง | Fuk Thong |
มดแดง | Mot Daeng |
มะนาว | Ma Nao |
เม็ดในกระดุม | Met-nai Kra-dom |
เม็ดในก้านยาว | Met-nai Kan-yao |
เม็ดในกำปั่น | Met-nai Kam-pan |
เม็ดในบางขุนนนท์ | Met-nai Bang-khun-non |
เม็ดในยายปราง | Me-tnai Yai-prang |
เม็ดในลวง | Met-nai Luang |
ยักษ์ | Yak |
ย่ำเพละ | Yam-pa-ra |
ย่ำมะหวาด | Yam-ma-wat |
ยินดี | Yin-di |
ลวงเขียว | Luang Keave |
ลวงแดง | Luang Daeng |
ลวงทอง | Luang Thong |
ลวงมะรุม | Luang Ma-rum |
ละมุด | La-mud |
ลำเจียก | Lum-jeak |
ลุงเกตุ | Lung-ket |
ลุงไหล | Lung-lai |
ลูกหนัก | Luk-nak |
สนั่น | Sa-nan |
สาเก | Sa Ka |
สายหยุด | Sai-yut |
สารภี | Sa-la-pee |
สาวชมฟักทอง/ฟักทอง | Sao-chom Fak-thong/Fak-thong |
สาวชมเห็ด | Sao-chom Het |
สาวสวรรค์ | Sao Sa-van |
สาวใหญ่ | Sao-yai |
สาแหรกทอง | Sa Lak Thong |
สีทอง | Si-thong |
สีเทา/นายฉลวย/หอยโข่ง | Si-thao/Nai-cha-luai/Hoi-khong |
สีไพร | Si-prai |
สีสวาท | Si-sa-vad |
สุดสาคร | Sud-sa-kon |
หมอนข้าง | Mon Khang |
หมอนด่าน | Mon Dang |
หมอนเดิม | Mon Doem |
หมอนทอง | Mon Thong |
หางสิงห์ | Hang Sing |
เหมราช | Hem-ma-rat |
เห-รา | He-ra |
เหรียญทอง | Rian Thong |
เหลืองทอง | Lueang Thong |
เหลืองประเสริฐ | Lueang Pra-sert |
อินทรชิต | In-tho-ra-chit |
อีงอน | E-ngon |
อีทุย | E-tui |
อียักษ์ | E-yak |
อีล่า/อีหนัก/ทศกัณฑ์ | E-la/E-nak |
ไอ้เข้/ตะเข้ | I-khe/Ta-khe |
ไอ้เงาะ | I-Nga |